วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
 พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดถือทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนา
 พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล

 พระพุทธศาสนามีหลักการและทฤษฎีที่เป็นสากล คือ หลักอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐของชีวิตมี 4 ประการคือ อ่านเพิ่ม



พุทธประวัติและชาดก

พุทธประวัติและชาดก
๑. พุทธประวัติ

๑.๑  ผจญมาร  เมื่อพระมหาสัตว์  ทรงรับหญ้ากุสะ ๘กำจากพราหมณ์ชื่อโสตถิยะแล้ว  ทรงนำไปปูลาดเป็นอาสนะที่โคนต้น อัสสัตถะ” (ต่อมาเรียกต้นพระศรีมหาโพธิ์) ประทับนั่งผินพระพักตร์ไปทางแม่น้ำเนรัญชรา ทรงตั้งสัตยาธิฐานว่า ตราบใดที่ยังไม่บรรลุด้วยความพยายามของบุรุษ  ด้วยเรี่ยวแรงองบุรุษ  แม้ว่าเลือดและเนื้อจะเหือดหายไป เหลือแต่หนังและกระดูกก็ตามทีเราจะไม่ลุกขึ้นจากอาสนะนี้พญามารร้องบอกให้พระองค์เสด็จลุกขึ้นจากอาสนะว่า บัลลังนี้เป็นของข้า ท่านจงลุกขึ้นเดียวนี้อ่านเพิ่ม



วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี

1 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 1.1 หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
1) วันมาฆบูชา

    วันมาฆบูชา คือ การบูชาในเดือนมาฆะ คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นคือการประชุมสงฆ์โดยมิได้นัดหมายกันที่เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต ประกอบด้วยองค์ 4 คือ 1. เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ 2. พระภิกษุ 1,250 องค์ มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย 3. ภิกษุเหล่านั้น ล้วนเป็นพระอรหันต์ 4. ได้รับการบวชจากพระพุทธเจ้า เป็นเอหิภิกขุทั้งสิ้น อ่านเพิ่ม



หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา


หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

พระรัตนตรัย คือแก้วอันประเสริฐ (ของชาวพุทธ) 3 ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
พระพุทธ     คือ ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองแล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม
พระธรรม     คือ  คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า

พระสงฆ์     คือ ผู้ปฏิบัติชอบตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วสอนผู้อื่นให้ประพฤติปฏิบัติตาม อ่านเพิ่ม



พระไตรปิฎกและพระพุทธศาสนสุภาษิต


พระไตรปิฎกและพระพุทธศาสนสุภาษิต


           พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็นส่วนน้อย พระธรรมเทศนาในพระสูตรมีเป็นจำนวนมาก หลายหมวด หลายประเภท อ่านเพิ่ม


การบริหารจิตและการเจริญปัญญา

การบริหารจิตและการเจริญปัญญา
การสวดมนต์แปลและ แผ่เมตตา

การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา อ่านเพิ่ม


พุทธสาวก สาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง

พุทธสาวก สาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง
พุทธสาวก สาวิกา
1. พระอานนท์
- พระอานนท์มีศักดิ์เป็นน้องของพระพุทธเจ้า
- ทรงออกบวชพร้อมกับเจ้าชายในราชสกุลศากยะอีก 5 องค์
- หลังจากบวชไม่นานได้ฟังโอวาทของ พระปุณณมันตานีบุตร ได้บรรลุโสดาบัน

- ทรงเป็น พุทธอุปฐาน ( คนใกล้ชิด คอยรับใช้ ) ของพระพุทธเจ้า อ่านเพิ่ม



หน้าที่ชาวพุทธ

หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ
1. หน้าที่ชาวพุทธ

ชาวพุทธ มีหน้าที่มากมายหลายประการที่จะต้องศึกษาเรียนรู้ ปฏิบัติ เพื่อที่จะรำลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ และเพื่อทำนุบำรุงอุปถัมภ์ สืบทอดพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป อ่านเพิ่ม




ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา

1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความหมายของศาสนา


พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า ศาสนา ไว้ว่า ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ ศาสนาจึงมีความหมายในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่ม



ศาสนาที่สำคัญในสังคม

ศาสนาที่สำคัญในสังคมไทย
1. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู

ศาสนาฮินดู (อังกฤษ: Hinduism) เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีคัมภีร์ศาสนาเรียกว่าพระเวท มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน อ่านเพิ่ม